-อธิบายองค์ประกอบเเละหลักการทำงานชองคอมพิวเตอร์ (ง 3.1 ม. 4-6/2)
-บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์เเละอุปกรณ์ต่อพ่วง (ง 3.1 ม. 4-6/4)
-ใช้ฮาร์ดแวร์ให้เหมาะสมกับงาน (ง 3.1 ม. 4-6/8)สาระการเรียนรู้
-การทำงานของคอมพิวเตอร์ประกอบด้วยหน่วยสำคัญ 5 หน่วย ได้เเก่ หน่วยรับเข้า หน่วยประมวลผล
กลาง หน่วยความจำหลัก หน่วยความจำสำรอง เเละหน่วยส่งออก
=>หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบด้วยหน่วยคุม เเละหน่วยคำนวณ ดดละตรรกะ
=>การรับส่งข้อมูลระหว่างหน่วยต่างๆ จะผ่านระบบนส่งข้อมูลหรือบัส
-คุณลักษณะ(specification)ของอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เเละอุปกรณ์ต่อพ่วงบ เช่น ความเร็ว เเละความจุ
ของฮาร์ดดิิสก์
-การเลือกคุณลักษณะของฮาร์ดเเวร์เเละซอฟต์เเวร์ให้เหมาะสมกับงาน เช่น คอมพิวเตอร์ที่ใช้ในงานสื่อ ประสม ควรเป็นเครื่องที่มีสมรรถนะสูง เเละใช้ซอฟต์เเวร์ที่เหมาะสม
วันอังคารที่ 18 สิงหาคม พ.ศ. 2558
ตัวชี้วัด
-อธิบายองค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
-บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
-ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
-บอกคุณลักษณะของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง
-ใช้ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับงาน
วันอังคารที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2558
ชนิดของการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
การเลือกซื้อคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันนี้ แบ่งออกได้เป็น 3 กลุ่ม คือ
หลักการเลือกคอมพิวเตอร์
ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ถือเป็นส่วนหนึ่งที่ช่วยในการทำงานของหลายองค์กร ทั้งการพิมพ์เอกสาร จัดเก็บข้อมูล นำเสนอผลงาน รวมทั้งการออกแบบงานต่างๆ ซึ่งลักษณะของงานจะมีความแตกต่างกันออกไป เพื่อให้ได้ผลงานที่มีประสิทธิภาพ ตรงตามความต้องการของผู้ใช้และคุ้มค่ากับจำนวนเงินที่จ่ายไป อ่านเพิ่มเติม
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ทำงานอย่างเป็นระบบ (System) หมายถึงภายในระบบงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยองค์ประกอบย่อยที่มีหน้าที่เฉพาะ ทำงานประสานสัมพันธ์กัน เพื่อให้งานบรรลุตามเป้าหมาย ในระบบงานคอมพิวเตอร์ การที่มีเครื่องคอมพิวเตอร์เพียงอย่างเดียว จะยังไม่สามารถทำงานได้ด้วยตัวเอง ซึ่งหากจะให้คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพแล้ว อ่านเพิ่มเติม
การทำงานขั้นพื้นฐาน
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ สร้างขึ้นเพื่อใช้แก้ปัญหาต่างๆทั้งในรูปแบบที่ง่ายและซับซ้อนโดยวิธีทางคณิตศาสตร์ ซึ่งปฎิบัติตามขั้นตอนของโปรแกรมที่ตั้งไว้สำหรับการทำงานของคอมพิวเตอร์จะมีขึ้นตอนการทำงานพื้นฐาน ๔ ขั้นตอน ดังนี้ อ่านเพิ่้มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)